วันจันทร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe)

A เป็นเซตของจำนวนนับที่มีค่าน้อยกว่า 5
สมาชิกในเซต A ต้องเลือกมาจากเซตของจำนวนนับเท่านั้น ซึ่งได้แก่ 1, 2, 3, 4 ดังนั้น เซตของจำนวนนับทั้งหมดเป็นเอกภพสัมพัทธ์ หรือ
https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet2/knowledge_math/set/symbol3.gif คือเซตของจำนวนนับ
B เป็นเซตของจำนวนเต็มที่เป็นคำตอบ
ของสมการ (2x - 1)(x + 4) = 0
สมาชิกของ B ต้องเลือกมาจากเซตจำนวนเต็มเท่านั้น ซึ่งได้แก่ -4ดังนั้น
เซตของจำนวนเต็มทั้งหมดจึงเป็นเอกภพสัมพัทธ์ หรือ
https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet2/knowledge_math/set/symbol3.gif คือเซตของจำนวนเต็ม

หมายเหตุ
ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบจำนวน ถ้าไม่ระบุแน่ชัดว่าเชตใดเป็นเอกภพสัมพัทธ์ ให้หมายถึงเซตของจำนวนจริงเป็นเอกภพสัมพัทธ์เสมอ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น